ย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาพที่ 3
- SILPA SCULP-01-04-05
- Item
- 2494
Part of งานประติมากรรม
ภาพกำลังเคลื่อนย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไปยังวงเวียนใหญ่
ศิลป์ พีระศรี
15 results directly related Exclude narrower terms
ย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาพที่ 3
Part of งานประติมากรรม
ภาพกำลังเคลื่อนย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไปยังวงเวียนใหญ่
ศิลป์ พีระศรี
ย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาพที่ 2
Part of งานประติมากรรม
ภาพกำลังเคลื่อนย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไปยังวงเวียนใหญ่
ศิลป์ พีระศรี
ย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาพที่ 1
Part of งานประติมากรรม
ภาพกำลังเคลื่อนย้ายม้าทรงอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไปยังวงเวียนใหญ่
ศิลป์ พีระศรี
พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขณะทรงม้าศึก
Part of งานประติมากรรม
อนุสาวรีย์พระเจ้าตากสินมหาราชขนาดเท่าครึ่งของพระองค์จริง หล่อด้วยโลหะรมดำ ออกแบบและปั้นโดย ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี โดยมีสิทธิเดช แสงหิรัญ ปกรณ์ เล็กสน สนั่น ศิลากรณ์ เป็นผู้ช่วย พระบรมรูปประทับบนหลังม้าเหยียดตรง พระเศียรทรงพระมาลาเส้าสูงแบบไม่พับซึ่งมีขนนกประดับอยู่บนยอด พระหัตถ์ขวาทรงถือพระแสงดาบยกชูขึ้น พระพักตร์ผินไปทางซ้ายเล็กน้อย ม้าทรงมีลักษณะหยุดนิ่งอยู่กับที่แต่ก็เต็มไปด้วยพลังแห่งม้าศึกที่กำลังคึกคะนองพร้อมที่จะโลดแล่นไปข้างหน้า ความงามของอนุสาวรีย์นี้อยู่ในลักษณะเส้นสำคัญของตัวม้า พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รวมทั้งหางม้าด้วยซึ่งเป็นส่วนประกอบให้ความรู้สึกที่จะพุ่งไปข้างหน้า ในฐานะผู้นำนักรบ ความงดงามของเส้นในแนวตั้ง (จากขาหลังของม้าทรงถึงปลายดาบ) และเส้นในแนวเฉียง (จากหูม้าถึงหางม้า) ซึ่งเกิดขึ้นจากความแยบยลในการกำหนดทิศทางการเคลื่อนไหวและท่าทางของม้าทรงและพระบรมรูปตามหลักการทางเรขาคณิต เส้นเหล่านี้นอกจากจะเป็นตัวเน้นพลังแห่งความเคลื่อนไหวแล้ว ยังเป็นตัวสร้างความมีชีวิตชีวาให้กับตัวอนุสาวรีย์อีกด้วย
ศิลป์ พีระศรี
ต้นแบบพระพักตร์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Part of งานประติมากรรม
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ออกแบบพระพักตร์ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีลักษณะไทยปนจีน แต่จะค่อนไปทางไทยมากกว่า อยู่ในวัยฉกรรจ์ คือ มีพระชันษาประมาณ 30 กว่า ๆ - 40 ชันษา ด้วยเหตุนี้ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี จึงเลือกแบบที่มีชีวิต 2 คน แทนคนๆ เดียว ซึ่งมีอายุไม่เกิน 40 ปี คือ ทวี นันทขว้าง อายุประมาณ 25 ปี ด้วยเหตุที่ใบหน้ามีลักษณะไทยปนเชื้อสายจีน และ จำรัส เกียรติก้อง อายุประมาณ 34 ปี ที่มีวงหน้ามีลักษณะของนักรบที่บึกบึน เข้มแข็ง เฉียบขาด ซึ่งแนวคิดของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ในการออกแบบอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินนั้นต้องการให้มีลักษณะของวีระบุรุษขณะทำการปลุกใจทหารหาญให้เข้าโจมตีข้าศึกเพื่อชัยชนะ ดังนั้นในความรู้สึกที่แสดงออกในพระพระพักตร์จึงเต็มไปด้วยสมาธิในความคิดเห็นและเต็มไปด้วยลักษณะของชาติชาตรี
ศิลป์ พีระศรี